สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านแม่จาง
หมู่ที่ 2 บ้านปางป๋วย
หมู่ที่ 3 บ้านวังน้ำต้อง
หมู่ที่ 4 บ้านนาสัก
หมู่ที่ 5 บ้านใหม่รัตนโกสินทร์
หมู่ที่ 6 บ้านสบจาง
หมู่ที่ 7 บ้านแม่หล่วง
หมู่ที่ 8 บ้านข่วงม่วง
หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งเลางาม
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ส่วนใหญ่ร่วมกิจกรรมทางการเมืองเสมอมาและประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักยังมีส่วนร่วมในการบริหารงาน การช่วยเหลืองานองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก เสนอแนะในกิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสักในการดำเนินงานต่างๆ เช่น การประชุมประชาคมในการจัดแผนพัฒนาตำบลนาสักประชุมประชาคมแก้ไขปัญหาความยากจน ฯลฯ
จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕56)
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก จำนวน 4,816 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 3,720 คน
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก จำนวน 4,812 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 3,717 คน แยกเป็น 9 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านแม่จาง จำนวน 438 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 363 คน
หมู่ที่ 2 บ้านปางป๋วย จำนวน 403 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 297 คน
หมู่ที่ 3 บ้านวังน้ำต้อง จำนวน 208 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 185 คน
หมู่ที่ 4 บ้านนาสัก จำนวน 931 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 660 คน
หมู่ที่ 5 บ้านใหม่รัตนโกสินทร์ จำนวน 636 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 507 คน
หมู่ที่ 6 บ้านสบจาง จำนวน 557 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 430 คน
หมู่ที่ 7 บ้านแม่หล่วง จำนวน 631 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 480 คน
หมู่ที่ 8 บ้านข่วงม่วง จำนวน 547 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 418 คน
หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งเลางาม จำนวน 461 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 377 คน
องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านแม่จาง
หมู่ที่ 2 บ้านปางป๋วย
หมู่ที่ 3 บ้านวังน้ำต้อง
หมู่ที่ 4 บ้านนาสัก
หมู่ที่ 5 บ้านใหม่รัตนโกสินทร์
หมู่ที่ 6 บ้านสบจาง
หมู่ที่ 7 บ้านแม่หล่วง
หมู่ที่ 8 บ้านข่วงม่วง
หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งเลางาม
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ส่วนใหญ่ร่วมกิจกรรมทางการเมืองเสมอมาและประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักยังมีส่วนร่วมในการบริหารงาน การช่วยเหลืองานองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก เสนอแนะในกิจกรรมขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสักในการดำเนินงานต่างๆ เช่น การประชุมประชาคมในการจัดแผนพัฒนาตำบลนาสักประชุมประชาคมแก้ไขปัญหาความยากจน ฯลฯ
จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ข้อมูลเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕56)
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก จำนวน 4,816 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 3,720 คน
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก จำนวน 4,812 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 3,717 คน แยกเป็น 9 หมู่บ้าน ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านแม่จาง จำนวน 438 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 363 คน
หมู่ที่ 2 บ้านปางป๋วย จำนวน 403 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 297 คน
หมู่ที่ 3 บ้านวังน้ำต้อง จำนวน 208 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 185 คน
หมู่ที่ 4 บ้านนาสัก จำนวน 931 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 660 คน
หมู่ที่ 5 บ้านใหม่รัตนโกสินทร์ จำนวน 636 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 507 คน
หมู่ที่ 6 บ้านสบจาง จำนวน 557 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 430 คน
หมู่ที่ 7 บ้านแม่หล่วง จำนวน 631 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 480 คน
หมู่ที่ 8 บ้านข่วงม่วง จำนวน 547 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 418 คน
หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งเลางาม จำนวน 461 คน มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 377 คน
ตำบลนาสัก ตั้งอยู่ ห่างจากอำเภอแม่เมาะ ประมาณ 37 กิโลเมตร ตำบลนาสักมีอาณาเขตดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านดง ตำบลจางเหนือ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลสบป้าด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง ตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลต้าผามอก ตำบลบ้านต้า อำเภอลอง จังหวัดแพร่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลแม่เมาะอำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะพื้นที่ของตำบลนาสัก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติแม่จางตอนขุนและพื้นที่ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (แม่เมาะ) หมู่บ้านต่างๆ ตั้งอยู่ตามที่ราบเชิงเขาภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ตำบลนาสักมีพื้นที่โดยเฉลี่ยทั้งหมด 131.63 ตร.กม. (หรือ 81,900.19 ไร่)
ตำบลนาลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื่น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ 10 องศา
ตำบลนาสัก เป็นดินเหนียวปนทราย (sandy loam) เมื่อแห้งจะแตกออกเป็นก้อนแข็งมาก เมื่อเปียกหรือชื้นจะทำเป็นแผ่นบาง ๆ และสามารถจะคลึงให้เป็นก้อนกลมๆ คล้ายลูกกระสุนได้ง่ายและแน่น
แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์ เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำสำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร์
1.แหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์
1.1 อ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง ดังนี้ อ่างเก็บน้ำแม่จาง, อ่างเก็บน้ำแม่หล่วง, อ่างเก็บน้ำแม่วังวัว
1.2 ฝาย 36 แห่ง
1.3 บ่อน้ำตื้น 34 แห่ง
1.4 ลำน้ำ,ลำห้วย 6 สาย
1.5 บ่อโยก 6 แห่ง
1.6 บึง,หนองและอื่น ๆ 34 แห่ง 2 แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติ
เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า
ตำบลนาสักไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก และลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของตำบลนาสัก จากการที่ทางสถานีตำรวจแม่เมาะได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ทราบนั้นพบว่าในเขตตำบลนาสัก มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน ตำบลนาสัก สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
ตำบลนาสักไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก และลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของตำบลนาสัก จากการที่ทางสถานีตำรวจแม่เมาะได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ทราบนั้นพบว่าในเขตตำบลนาสัก มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน ตำบลนาสัก สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
ตำบลนาสักไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก และลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของตำบลนาสัก จากการที่ทางสถานีตำรวจแม่เมาะได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ทราบนั้นพบว่าในเขตตำบลนาสัก มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน ตำบลนาสัก สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
ตำบลนาสักไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก และลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของตำบลนาสัก จากการที่ทางสถานีตำรวจแม่เมาะได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ทราบนั้นพบว่าในเขตตำบลนาสัก มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน ตำบลนาสัก สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
ตำบลนาสักไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และจากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก และลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางเทศบาลจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของตำบลนาสัก จากการที่ทางสถานีตำรวจแม่เมาะได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ทราบนั้นพบว่าในเขตตำบลนาสัก มีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วน ตำบลนาสัก สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนตำบลนาสัก
การประปา หมู่บ้านแต่ละบ้านเป็นของหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา
เบอร์โทรองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก โทร 054-209703
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลนาสักที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 60 เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
(๑) มีท่ารถสองแถวไป-กลับ ตำบลนาสัก -สถานีขนส่งจังหวัดลำปาง จำนวน 3 หมู่บ้าน ให้บริการทุกๆวัน
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนตำบลนาสัก
การประปา หมู่บ้านแต่ละบ้านเป็นของหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา
เบอร์โทรองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก โทร 054-209703
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลนาสักที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 60 เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
(๑) มีท่ารถสองแถวไป-กลับ ตำบลนาสัก -สถานีขนส่งจังหวัดลำปาง จำนวน 3 หมู่บ้าน ให้บริการทุกๆวัน
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนตำบลนาสัก
การประปา หมู่บ้านแต่ละบ้านเป็นของหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา
เบอร์โทรองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก โทร 054-209703
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลนาสักที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 60 เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
(๑) มีท่ารถสองแถวไป-กลับ ตำบลนาสัก -สถานีขนส่งจังหวัดลำปาง จำนวน 3 หมู่บ้าน ให้บริการทุกๆวัน
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนตำบลนาสัก
การประปา หมู่บ้านแต่ละบ้านเป็นของหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา
เบอร์โทรองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก โทร 054-209703
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลนาสักที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 60 เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
(๑) มีท่ารถสองแถวไป-กลับ ตำบลนาสัก -สถานีขนส่งจังหวัดลำปาง จำนวน 3 หมู่บ้าน ให้บริการทุกๆวัน
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
ราษฎรตำบลนาสักส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(แม่เมาะ) ซึ่งการทำนานั้นส่วนมากจะปลูกไว้รับประทานเอง หากเหลือจึงจำหน่าย
แหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร |
ปริมาณน้ำฝนที่ตก โดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ |
|||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
||||||
3.1) ปริมาณน้ำฝน |
|
/ |
900 มิลลิเมตร |
||||
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ลำดับ ความสำคัญ |
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร ตลอดทั้งปี |
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร |
||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ |
|||
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|||||||
¨ 1. แม่น้ำ |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. ห้วย/ลำธาร |
2 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 3. คลอง |
|
|
|
|
|
|
|
þ 4. หนองน้ำ/บึง |
1 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 5. น้ำตก |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น |
|||||||
¨ 1. แก้มลิง |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. อ่างเก็บน้ำ |
1 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 3. ฝาย |
3 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
þ 4. สระ |
2 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 5. คลองชลประทาน |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
ราษฎรตำบลนาสักส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(แม่เมาะ) ซึ่งการทำนานั้นส่วนมากจะปลูกไว้รับประทานเอง หากเหลือจึงจำหน่าย
แหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร |
ปริมาณน้ำฝนที่ตก โดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ |
|||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
||||||
3.1) ปริมาณน้ำฝน |
|
/ |
900 มิลลิเมตร |
||||
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ลำดับ ความสำคัญ |
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร ตลอดทั้งปี |
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร |
||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ |
|||
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|||||||
¨ 1. แม่น้ำ |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. ห้วย/ลำธาร |
2 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 3. คลอง |
|
|
|
|
|
|
|
þ 4. หนองน้ำ/บึง |
1 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 5. น้ำตก |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น |
|||||||
¨ 1. แก้มลิง |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. อ่างเก็บน้ำ |
1 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 3. ฝาย |
3 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
þ 4. สระ |
2 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 5. คลองชลประทาน |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
ราษฎรตำบลนาสักส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้างที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(แม่เมาะ) ซึ่งการทำนานั้นส่วนมากจะปลูกไว้รับประทานเอง หากเหลือจึงจำหน่าย
แหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร |
ปริมาณน้ำฝนที่ตก โดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ |
|||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
||||||
3.1) ปริมาณน้ำฝน |
|
/ |
900 มิลลิเมตร |
||||
แหล่งน้ำ ทางการเกษตร |
ลำดับ ความสำคัญ |
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร ตลอดทั้งปี |
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร |
||||
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ |
|||
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|||||||
¨ 1. แม่น้ำ |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. ห้วย/ลำธาร |
2 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 3. คลอง |
|
|
|
|
|
|
|
þ 4. หนองน้ำ/บึง |
1 |
|
/ |
|
/ |
1 % |
|
¨ 5. น้ำตก |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น |
|||||||
¨ 1. แก้มลิง |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 2. อ่างเก็บน้ำ |
1 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 3. ฝาย |
3 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
þ 4. สระ |
2 |
|
/ |
|
/ |
2 % |
|
¨ 5. คลองชลประทาน |
|
|
|
|
|
|
|
¨ 6. อื่นๆ(โปรดระบุ) 6.1) . 6.2) . 6.3) . |
|
|
|
|
|
|
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำที่อยู่ในตำบลนาสัก ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้
มีความอุดมสมบูรณ์และไม้มีค่า
เป็นที่ราบสูง และเป็นป่าค่อนข้างทึบ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่สามารถสร้างแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เนื่องจาก องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา
ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำที่อยู่ในตำบลนาสัก ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้
มีความอุดมสมบูรณ์และไม้มีค่า
เป็นที่ราบสูง และเป็นป่าค่อนข้างทึบ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่สามารถสร้างแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เนื่องจาก องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา
ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำที่อยู่ในตำบลนาสัก ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้
มีความอุดมสมบูรณ์และไม้มีค่า
เป็นที่ราบสูง และเป็นป่าค่อนข้างทึบ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่สามารถสร้างแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เนื่องจาก องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา
ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากอ่างเก็บน้ำที่อยู่ในตำบลนาสัก ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้
มีความอุดมสมบูรณ์และไม้มีค่า
เป็นที่ราบสูง และเป็นป่าค่อนข้างทึบ
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่สามารถสร้างแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เนื่องจาก องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีงบประมาณไม่เพียงพอต่อการพัฒนา
การขยายเขตไฟฟ้า ปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสักจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ก็ได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนตำบลนาสัก
การประปา หมู่บ้านแต่ละบ้านเป็นของหมู่บ้านเอง สามารถให้บริการได้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ปัญหาคือ มีข้อร้องเรียนเรื่องน้ำประปาขุ่นบ่อยครั้ง สาเหตุเนื่องจากเป็นท่อประปาเก่าเกิดการตกตะกอนของน้ำ และไม่มีแหล่งน้ำดิบในการผลิตประปา
เบอร์โทรองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก โทร 054-209703
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสักมีเส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลนาสักที่เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ร้อยละ 60 เป้าหมายคือต้องการให้ได้มากกว่านี้หรือร้อยละ ๑๐๐ โดยผู้บริหารมีนโยบายที่จะดำเนินการก่อสร้างถนน
(๑) มีท่ารถสองแถวไป-กลับ ตำบลนาสัก -สถานีขนส่งจังหวัดลำปาง จำนวน 3 หมู่บ้าน ให้บริการทุกๆวัน
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ
(ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีการประมง)
โรงแรม - แห่ง
ร้านอาหาร ๔ แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แห่ง
ร้านเกมส์ ๓ แห่ง
- จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก) จำนวน 8 แห่ง
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ ที่โรงไฟฟ้าฝ่ายผลิตแม่เมาะ บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลนาสัก ไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนย่อนใจ